ภาษาไทย ม.4  (หลักภาษาและวรรณคดีวรรณกรรม)
KRU_PKW วรานิษฐา รัตนพันธ์

ภาษาไทย ม.4 (หลักภาษาและวรรณคดีวรรณกรรม)

        วิเคราะห์  วิจารณ์ แสดงความคิดเห็นโต้แย้งเกี่ยวกับเรื่องที่อ่านและเสนอแนวคิดใหม่อย่างมีเหตุผล ตอบคำถามจากการอ่านงานเขียนประเภทต่างๆ ภายในเวลาที่กำหนด อ่านเรื่องต่างๆ แล้วเขียนกรอบแนวคิดผังความคิด บันทึกย่อความและรายงาน สังเคราะห์ความรู้จากการอ่านสื่อสิ่งพิมพ์สื่ออิเล็กทรอนิกส์และแหล่งเรียนรู้ต่างๆ มาพัฒนาตน พัฒนาการเรียน และพัฒนาความรู้ทางอาชีพ ผลิตงานเขียนของตนเองในรูปแบบต่างๆ ประเมินงานเขียนของผู้อื่นแล้วนำมาพัฒนางานเขียนของตนเอง เขียนรายงานการศึกษาค้นคว้าเรื่องที่สนใจตามหลักการเขียนเชิงวิชาการ และใช้ข้อมูลสารสนเทศอ้างอิงอย่างถูกต้อง บันทึกการศึกษาค้นคว้าเพื่อนำไปพัฒนาตนเองอย่างสม่ำเสมอ มีวิจารณญาณในการเลือกเรื่องที่ฟังและดูพูดในโอกาสต่างๆ พูดแสดงทรรศนะ โต้แย้งโน้มน้าวใจและเสนอแนวคิดใหม่ด้วยภาษาถูกต้องเหมาะสมวิเคราะห์อิทธิพลของภาษาต่างประเทศและภาษาถิ่น อธิบายและวิเคราะห์หลักกการสร้างคำในภาษาไทย วิเคราะห์ประเมินการใช้ภาษาจากสื่อสิ่งพิมพ์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ สังเคราะห์ข้อคิดจากวรรณคดีและวรรณกรรมเพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง รวบรวมวรรณกรรมพื้นบ้านและอธิบายภูปัญญาทางภาษา ท่องจำและบอกคุณค่าบทอาขยานตามที่กำหนดและบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจและนำไปใช้อ้างอิง  การฝึกท่องจำบทอาขยานที่กำหนดและบทร้อยกรองที่สนใจมีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดูและการพูด วรรณคดีและวรรณกรรมในฐานะที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรมของชาติ

                ตัวชี้วัด

          ท ๑.๑  ม.๔-๖/๓   ม.๔-๖/๕   ม.๔-๖/๙  

          ท ๒.๑  ม.๔-๖/๔   ม.๔-๖/๕  

          ท ๓.๑   ม.๔-๖/๕   ม.๔-๖/๖  

          ท ๔.๑  ม.๔-๖/๑   ม.๔-๖/๓   ม.๔-๖/๕   ม.๔-๖/๖    

          ท ๕.๑  ม.๔-๖/๑   ม.๔-๖/๔   ม.๔-๖/๕   ม.๔-๖/๖    

               รวม  ๑๕ ตัวชี้วัด  


ภาษาไทย ม.6 (หลักภาษาและวรรณคดี)
KRU_PKW วรานิษฐา รัตนพันธ์

ภาษาไทย ม.6 (หลักภาษาและวรรณคดี)

วิเคราะห์  วิจารณ์ แสดงความคิดเห็นโต้แย้งเกี่ยวกับเรื่องที่อ่านและเสนอแนวคิดใหม่อย่างมีเหตุผล ตอบคำถามจากการอ่านงานเขียนประเภทต่างๆ ภายในเวลาที่กำหนด อ่านเรื่องต่างๆ แล้วเขียนกรอบแนวคิด ผังความคิด บันทึกย่อความและรายงาน สังเคราะห์ความรู้จากการอ่านสื่อสิ่งพิมพ์สื่ออิเล็กทรอนิกส์และแหล่งเรียนรู้ต่างๆ มาพัฒนาตน พัฒนาการเรียน และพัฒนาความรู้ทางอาชีพ ผลิตงานเขียนของตนเองในรูปแบบต่างๆ ประเมินงานเขียนของผู้อื่นแล้วนำมาพัฒนางานเขียนของตนเอง เขียนรายงานการศึกษาค้นคว้าเรื่องที่สนใจตามหลักการเขียนเชิงวิชาการ และใช้ข้อมูลสารสนเทศอ้างอิงอย่างถูกต้อง บันทึกการศึกษาค้นคว้าเพื่อนำไปพัฒนาตนเองอย่างสม่ำเสมอ มีวิจารณญาณในการเลือกเรื่องที่ฟังและดูพูดในโอกาสต่างๆ พูดแสดงทรรศนะ โต้แย้ง โน้มน้าวใจและเสนอแนวคิดใหม่ด้วยภาษาถูกต้องเหมาะสมวิเคราะห์อิทธิพลของภาษาต่างประเทศและภาษาถิ่น อธิบายและวิเคราะห์หลักกการสร้างคำในภาษาไทย วิเคราะห์ประเมินการใช้ภาษาจากสื่อสิ่งพิมพ์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ สังเคราะห์ข้อคิดจากวรรณคดีและวรรณกรรมเพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง รวบรวมวรรณกรรมพื้นบ้านและอธิบายภูปัญญาทางภาษา ท่องจำและบอกคุณค่าบทอาขยานตามที่กำหนดและบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจและนำไปใช้อ้างอิง  การฝึกท่องจำบทอาขยานที่กำหนดและบทร้อยกรองที่สนใจมีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดูและการพูด วรรณคดีและวรรณกรรมในฐานะที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรมของชาติ

 

                ตัวชี้วัด

          ท ๑.๑  ม.๔-๖/๕   ม.๔-๖/๖   ม.๔-๖/๗   ม.๔-๖/๘   ม.๔-๖/๙

ท ๒.๑  ม.๔-๖/๑   ม.๔-๖/๔   ม.๔-๖/๘  

ท ๓.๑  ม.๔-๖/๑   ม.๔-๖/๓   ม.๔-๖/๔   ม.๔-๖/๕  

ท ๔.๑  ม.๔-๖/๑   ม.๔-๖/๒   ม.๔-๖/๔   ม.๔-๖/๗   

ท ๕.๑  ม.๔-๖/๑   ม.๔-๖/๓   ม.๔-๖/๖  

รวม  ๑๙ ตัวชี้วัด  


ภาษาไทย ม.1 (หลักภาษาและวรรณคดี)
KRU_PKW ดารัตน์ สุริยงคต

ภาษาไทย ม.1 (หลักภาษาและวรรณคดี)

       ฝึกทักษะการอ่าน การเขียน การฟัง การดู และการพูด การวิเคราะห์และประเมินค่าวรรณคดีและวรรณกรรม โดยศึกษาเกี่ยวกับการอ่านออกเสียง การอ่านจับใจความ การอ่านและปฏิบัติตามเอกสารคู่มือ
การอ่านหนังสือตามความสนใจ ฝึกทักษะการคัดลายมือ การเขียนสื่อสาร เขียนบรรยายประสบการณ์
เขียนเรียงความ เขียนย่อความ เขียนแสดงความคิดเห็น การเขียนจดหมายส่วนตัวและจดหมายกิจธุระ การเขียนรายงาน การพูดสรุปความ พูดแสดงความรู้ ความคิดอย่างสร้างสรรค์จากเรื่องที่ฟังและดู พูดประเมินความน่าเชื่อถือของสื่อที่มีเนื้อหาโน้มน้าว พูดรายงานการศึกษาค้นคว้า และศึกษาลักษณะของเสียงในภาษาไทย การสร้างคำประสม คำซ้ำ คำซ้อน และคำพ้อง วิเคราะห์ชนิดและหน้าที่ของคำ ความแตกต่างของภาษาพูดและภาษาเขียน การแต่งบทร้อยกรองประเภทกาพย์ยานี ๑๑ จำแนกและใช้สำนวนที่เป็นคำพังเพยและสุภาษิต

           วิเคราะห์ ประเมินค่า และข้อคิดจากวรรณคดีและวรรณกรรมเรื่อง นิราศภูเขาทอง โคลงโลกนิติ สุภาษิต พระร่วง กาพย์เรื่องพระไชยสุริยา ราชาธิราช ตอน สมิงพระรามอาสา กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน และนิทาน พื้นบ้าน ท่องจำบทอาขยานตามที่กำหนด และบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ

       โดยใช้กระบวนการอ่านเพื่อสร้างความรู้ความคิดนำไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดำเนินชีวิต กระบวน
การเขียนเพื่อการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ กระบวนการฟัง การดู และการพูด สามารถเลือกฟังและดู และ
พูดแสดงความรู้ความคิดอย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์ เพื่อให้เข้าใจธรรมชาติภาษาและหลักภาษาไทย
การเปลี่ยนแปลงของภาษา พลังภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา วิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมอย่าง
เห็นคุณค่านำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง รักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ และมีนิสัยรักการอ่าน การเขียน
มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดู และการพูด

       ตัวชี้วัด

       ท ๑.๑    ม.๑/๑  ม.๑/๒  ม.๑/๙

       ท ๒.๑    ม.๑/๓ ม.๑/๔  ม.๑/๕  ม.๑/๗   ม.๑/๘  ม.๑/๙

       ท ๓.๑    ม.๑/๖

       ท ๔.๑    ม.๑/๑  ม.๑/๒  ม.๑/๓  ม.๑/๔

       ท ๕.๑    ม.๑/๑  ม.๑/๒  ม.๑/๓ ม.๑/๔ ม.๑/๕

        รวม ๑๙  ตัวชี้วัด


ภาษาไทย ม.3 (หลักภาษาและวรรณคดี)
KRU_PKW ดารัตน์ สุริยงคต

ภาษาไทย ม.3 (หลักภาษาและวรรณคดี)

ฝึกทักษะการอ่าน การเขียน การฟัง การดูและการพูด การวิเคราะห์และประเมินค่าวรรณคดีและวรรณกรรม

โดยศึกษาเกี่ยวกับการอ่านออกเสียง การอ่านจับใจความ การอ่านตามความสนใจ ฝึกทักษะการคัดลายมือ
การเขียนข้อความตามสถานการณ์และโอกาสต่างๆ เขียนอัตชีวประวัติหรือชีวประวัติ เขียนย่อความ การเขียนจดหมายกิจธุระ เขียนอธิบาย ชี้แจง แสดงความคิดเห็น และโต้แย้ง เขียนวิเคราะห์วิจารณ์ และแสดงความรู้ความคิดเห็น หรือโต้แย้งจากสื่อต่างๆ กรอกแบบสมัครงาน เขียนรายงาน ฝึกทักษะการพูดแสดงความคิดเห็นและการประเมินเรื่องจากการฟังและการดู พูดวิเคราะห์วิจารณ์จากเรื่องที่ฟังและดู พูดรายงานการศึกษาค้นคว้า พูดในโอกาสต่างๆ พูดโน้มน้าว
และศึกษาเกี่ยวกับคำภาษาต่างประเทศที่ใช้ในภาษาไทย โครงสร้างประโยคซับซ้อน ระดับภาษา คำทับศัพท์และศัพท์บัญญัติ คำศัพท์ทางวิชาการและวิชาชีพ การแต่งบทร้อยกรองประเภท
โคลงสี่สุภาพ

        วิเคราะห์วิถีไทย ประเมินค่า ความรู้และข้อคิดจากวรรณคดี วรรณกรรมบทละครพูดเรื่องเห็นแก่ลูก นิทานคำกลอนเรื่องพระอภัยมณี ตอนหนีนางผีเสื้อ พระบรมราโชวาท อิศรญาณภาษิต บทพากย์เอราวัณ ท่องจำ
บทอาขยานที่กำหนดและบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ

        โดยใช้กระบวนการอ่านเพื่อสร้างความรู้ความคิดนำไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดำเนินชีวิต กระบวนการเขียนเพื่อการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ กระบวนการฟัง การดู และการพูด สามารถเลือกฟังและดู และพูดแสดงความรู้ความคิดอย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์ เพื่อให้เข้าใจธรรมชาติภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษา พลังภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา วิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมอย่างเห็นคุณค่านำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง รักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ และมีนิสัยรักการอ่าน การเขียน
มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดู และการพูด

 

       ตัวชี้วัด

       1.1    ม.3/1  ม.3/2  ม.3/3  ม.3/4   ม.3/5  ม.3/6 ม.3/7  ม.3/8   ม.3/9  ม.3/10   

       2.1    ม.3/1  ม.3/2  ม.3/3  ม.3/4   ม.3/5  ม.3/6 ม.3/7  ม.3/8   ม.3/9  ม.3/10

       3.1    ม.3/1  ม.3/2  ม.3/3  ม.3/4   ม.3/5  ม.3/6

       4.1    ม.3/1  ม.3/2  ม.3/3  ม.3/4   ม.3/5  ม.3/6

       5.1    ม.3/1  ม.3/2  ม.3/3  ม.3/4

          รวม  36  ตัวชี้วัด


ภาษาไทย ม.2 (หลักภาษาและวรรณคดี)
KRU_PKW ดารัตน์ สุริยงคต

ภาษาไทย ม.2 (หลักภาษาและวรรณคดี)

  ฝึกทักษะการอ่าน การเขียน การฟัง การดู และการพูด การวิเคราะห์และประเมินค่าวรรณคดีและวรรณกรรม โดยศึกษาเกี่ยวกับการอ่านออกเสียง การอ่านจับใจความ การอ่านตามความสนใจ ฝึกทักษะการคัดลายมือ การเขียนบรรยายและพรรณนา เขียนเรียงความเกี่ยวกับประสบการณ์ เขียนย่อความ เขียนรายงาน  การเขียนจดหมายกิจธุระ การเขียนวิเคราะห์ วิจารณ์ และแสดงความรู้ ความคิดเห็น หรือโต้แย้ง  การพูดสรุปความ พูดวิเคราะห์และวิจารณ์จากเรื่องที่ฟังและดู พูดในโอกาสต่างๆ พูดรายงานการศึกษาค้นคว้า และศึกษาลักษณะของประโยคในภาษาไทย การสร้างคำสมาส การใช้คำราชาศัพท์ การแต่งบทร้อยกรอง  ประเภทกลอนสุภาพ การรวบรวมและอธิบายความหมายของคำภาษาต่างประเทศที่ใช้ในภาษาไทย

        วิเคราะห์ ประเมินค่า และข้อคิดจากวรรณคดีและวรรณกรรมเรื่อง โคลงภาพพระราชพงศาวดาร  บทเสภาสามัคคีเสวก ตอน วิศวกรรมาและสามัคคีเสวก ศิลาจารึกหลักที่ 1 บทละครเรื่อง รามเกียรติ์ ตอน นารายณ์ปราบนนทก กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง โคลงสุภาษิตพระราชนิพนธ์พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กลอนดอกสร้อยรำพึงในป่าช้า และนิราศเมืองแกลง ท่องจำบทอาขยานตามที่กำหนด และบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ

        โดยใช้กระบวนการอ่านเพื่อสร้างความรู้ความคิดนำไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดำเนินชีวิต กระบวนการเขียนเพื่อการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ กระบวนการฟัง การดู และการพูด สามารถเลือกฟังและดู และพูดแสดงความความคิดอย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์ เพื่อให้เข้าใจธรรมชาติภาษาและหลักภาษาไทยการเปลี่ยนแปลงของภาษา พลังภาษา     ภูมิปัญญาทางภาษา วิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมอย่างเห็นคุณค่านำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง รักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ และมีนิสัยรักการอ่าน การเขียน มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดู และการพูด


 ตัวชี้วัด

 ท 1.1 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4 ม.2/5 ม.2/6  ม.2/7 ม.2/8  

2.1 ม.2/1     ม.2/2   ม.2/3   ม.2/4   ม.2/5   ม.2/6   ม.2/7   ม.2/8  

3.1  ม.2/1   ม.2/2   ม.2/3   ม.2/4   ม.2/5   ม.2/6

4. ม.2/1   ม.2/2   ม.2/3   ม.2/4   ม.2/5  

       5.1     ม.2/1   ม.2/2   ม.2/3   ม.2/4   ม.2/5

        รวม 32  ตัวชี้วัด


ภาษาไทย ม.5 (หลักภาษาและวรรณคดีวรรณกรรม)
KRU_PKW วรานิษฐา รัตนพันธ์

ภาษาไทย ม.5 (หลักภาษาและวรรณคดีวรรณกรรม)

วิเคราะห์  วิจารณ์ แสดงความคิดเห็นโต้แย้งเกี่ยวกับเรื่องที่อ่านและเสนอแนวคิดใหม่อย่างมีเหตุผล ตอบคำถามจากการอ่านงานเขียนประเภทต่างๆ ภายในเวลาที่กำหนด อ่านเรื่องต่างๆ แล้วเขียนกรอบแนวคิดผังความคิด บันทึกย่อความและรายงาน สังเคราะห์ความรู้จากการอ่านสื่อสิ่งพิมพ์สื่ออิเล็กทรอนิกส์และแหล่งเรียนรู้ต่างๆ มาพัฒนาตน พัฒนาการเรียน และพัฒนาความรู้ทางอาชีพ ผลิตงานเขียนของตนเองในรูปแบบต่างๆ ประเมินงานเขียนของผู้อื่นแล้วนำมาพัฒนางานเขียนของตนเอง เขียนรายงานการศึกษาค้นคว้าเรื่องที่สนใจตามหลักการเขียนเชิงวิชาการ และใช้ข้อมูลสารสนเทศอ้างอิงอย่างถูกต้อง บันทึกการศึกษาค้นคว้าเพื่อนำไปพัฒนาตนเองอย่างสม่ำเสมอ มีวิจารณญาณในการเลือกเรื่องที่ฟังและดูพูดในโอกาสต่างๆ พูดแสดงทรรศนะ โต้แย้ง

โน้มน้าวใจและเสนอแนวคิดใหม่ด้วยภาษาถูกต้องเหมาะสมวิเคราะห์อิทธิพลของภาษาต่างประเทศและภาษาถิ่น อธิบายและวิเคราะห์หลักกการสร้างคำในภาษาไทย วิเคราะห์ประเมินการใช้ภาษาจากสื่อสิ่งพิมพ์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ สังเคราะห์ข้อคิดจากวรรณคดีและวรรณกรรมเพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง รวบรวมวรรณกรรมพื้นบ้านและอธิบายภูปัญญาทางภาษา ท่องจำและบอกคุณค่าบทอาขยานตามที่กำหนดและบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจและนำไปใช้อ้างอิง  การฝึกท่องจำบทอาขยานที่กำหนดและบทร้อยกรองที่สนใจมีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดูและการพูด วรรณคดีและวรรณกรรมในฐานะที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรมของชาติ

 

                ตัวชี้วัด

          ท ๑.๑  ม.๔-๖/๓   ม.๔-๖/๕   ม.๔-๖/๙  

          ท ๒.๑  ม.๔-๖/๔   ม.๔-๖/๕  

ท ๓.๑   ม.๔-๖/๕   ม.๔-๖/๖  

ท ๔.๑  ม.๔-๖/๑   ม.๔-๖/๓   ม.๔-๖/๕   ม.๔-๖/๖    

ท ๕.๑  ม.๔-๖/๑   ม.๔-๖/๔   ม.๔-๖/๕   ม.๔-๖/๖    

      รวม  ๑๕ ตัวชี้วัด